คลังเก็บป้ายกำกับ: ZENPAD_7.0

ASUS เผยไฮไลท์นวัตกรรมแห่งปี 2559 ด้วย Zenfone Zoom พร้อมครอบครัว ZenPad เพื่อชีวิตดิจิตอลที่สมาร์ท และครบครันยิ่งกว่า

ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา เอซุสเป็นหนึ่งในผู้นำด้านนวัตกรรมของผลิตภัณฑ์ไอที ด้วยเทคโนโลยี การออกแบบ และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ โดยเฉพาะกลุ่มของสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต ซึ่งกลายเป็นสิ่งสำคัญในการดำเนินชีวิตของผู้คนยุคใหม่ เอซุสได้นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่คำนึงถึงความต้องการของผู้ใช้งานมาโดยตลอด เห็นได้จากความพิถีพิถันในการผลิตและนำเสนอสินค้าที่มีจุดเด่นแตกต่างกัน ออกมาหลากหลายรุ่น เพื่อตอบสนองทุกความต้องการ ทั้งสมาร์ทโฟนในซีรี่ส์ Zenfone หรือจะเป็นแท็บเล็ตแต่ละซีรี่ส์ ที่มีการส่งมอบนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีมาสู่ผู้ใช้งานเสมอมา

ZOOM_ACCY_White_4

สำหรับในปีนี้ เอซุสก็ยังคงมีความตั้งใจที่จะนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ผู้ใช้งานทุกท่านอย่างเช่นที่ผ่านมา โดยเริ่มต้นปีนี้ด้วยสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต หนึ่งในไฮไลท์ประจำปีนี้ ได้แก่ สมาร์ทโฟน ASUS Zenfone Zoom และสมาร์ทโฟนASUS Zenfone 2 Deluxe Special Edition ส่วนแท็บเล็ตก็เป็นผลิตภัณฑ์ในซีรี่ส์ ZenPad ซึ่งจะเป็นสื่อกลางในการนำเสนอเรื่องความบันเทิง ที่ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์การใช้งานยุคใหม่ได้อย่างลงตัว ทั้งในแง่ของประสิทธิภาพ และยังสามารถพกพาไปให้ความบันเทิงได้ทุกที่อย่างสะดวกอีกด้วย

มร. เจฟฟ์ โล กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอซุสเทค คอมพิวเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด เปิดเผยว่า “ในปีที่ผ่านมา จากการจับมือกันของเอซุสกับอินเทล ทำให้ Zenfone 2 ประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี ทั้งได้รับคำวิจารณ์เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ในเชิงบวก จากสื่อและผู้ใช้งาน รวมไปถึงยอดขาย และเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้จำนวนครอบครัวผู้ใช้งาน Zenfone ทะลุ 2,000,000 คนในปีที่ผ่านมา ซึ่งในปีนี้ เอซุสพร้อมที่จะนำผลิตภัณฑ์รุ่นใหม่เข้าสู่ตลาดในประเทศไทย เริ่มต้นด้วยผลิตภัณฑ์รุ่นที่มีความโดดเด่นในด้านกล้องอย่าง Zenfone Zoom ร่วมกับผลิตภัณฑ์สุดพิเศษอย่าง Zenfone 2 Deluxe Special Edition”

“ส่วนกลุ่มของแท็บเล็ตนั้น เอซุสยังคงวาง ZenPad ให้เป็นผลิตภัณฑ์หลัก ด้วยทั้งรุ่นที่วางจำหน่ายแล้วตั้งแต่เมื่อปีที่ผ่านมา และได้รับความนิยมอย่าง ZenPad 7.0 กับ ZenPad C ซึ่งในปีนี้เอซุสก็จะมีผลิตภัณฑ์รุ่นใหม่มาเติมเต็มความต้องการของผู้บริโภคที่มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น เพื่อสร้างครอบครัว ZenPad ที่จะมีความหลากหลาย และมีความแตกต่างจากแท็บเล็ตอื่นในตลาด”

ASUS Zenfone Zoom

Zoom_Procuct_Photo_3

เอซุส Zenfone Zoom เป็นสมาร์ทโฟนที่มีความโดดเด่นในด้านของการถ่ายภาพ ด้วยกล้องหลังที่มีความสามารถในการซูมแบบออพติคอลสูงสุด 3 เท่า ภายใต้ตัวเครื่องที่มีส่วนบางสุดเพียง 5 มิลลิเมตร นอกจากนี้ผู้ใช้งานยังสามารถซูมแบบดิจิตอลได้อีก 4 เท่า ทำให้การเก็บภาพระยะไกล ทำได้ง่ายดายกว่าที่เคยมีมา นอกจากนี้ภายในยังประกอบด้วยชุดเลนส์ HOYA ถึง 10 ชิ้น เมื่อทำงานร่วมกับระบบเลเซอร์ออโต้โฟกัส และแฟลชแบบ Dual LED Real Tone ยิ่งทำให้ภาพถ่ายมีคุณภาพสูง คมชัด สีสันสดใส และโฟกัสได้อย่างรวดเร็ว

ZOOM_Product_Photo_Black_1

ด้านการออกแบบ เอซุส Zenfone Zoom มาพร้อมการออกแบบและกระบวนการผลิตที่พิถีพิถัน ด้วยโครงสร้างภายในที่เป็นอลูมิเนียมอัลลอยชั้นยอด ผ่านกระบวนการถึงกว่า 201 ขั้นตอน ฝาหลังหุ้มด้วยหนังแท้ในสไตล์อิตาลี อีกทั้งยังมีปุ่มกล้องที่ใช้เป็นปุ่มชัตเตอร์ในการถ่ายภาพ และปุ่มกดถ่ายวิดีโอ ร่วมกับปุ่มปรับระดับเสียง ที่ทำหน้าที่เป็นปุ่มซูมภาพ เพื่อความสะดวกในการใช้งานกล้อง ให้ทั้งสัมผัส และประสบการณ์การใช้งานที่ดุจกล้อง DSLR

Zoom_Procuct_Photo_3

นอกเหนือจากกล้องและการออกแบบที่เป็นจุดเด่นแล้ว ประสิทธิภาพก็ยังเป็นสิ่งที่สำคัญ ซึ่ง Zenfone Zoom เลือกใช้ชิปประมวลผล Intel® Atom™ Processor Z3580 (2M Cache, up to 2.33 GHz) ประสิทธิภาพสูง พร้อมแรม 4GB แบบ Dual-Channel ที่ทำให้ทุกการทำงานเป็นไปได้อย่างไหลลื่น ประกอบกับพื้นที่เก็บข้อมูลที่มีขนาด 64GB รองรับการเพิ่มการ์ด MicroSD สามารถใช้งาน 4G LTE ได้ ตอบโจทย์ผู้รักการถ่ายภาพด้วยสมาร์ทโฟน ที่สามารถเก็บภาพอันสวยงามจากกล้องชั้นยอด ตกแต่งภาพได้จากในเครื่องที่มีประสิทธิภาพระดับพีซี รวมถึงสามารถอัพโหลดภาพด้วยอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ซึ่งทั้งหมดนี้ รวมอยู่ใน Zenfone Zoom เพียงเครื่องเดียว

ASUS Zenfone 2 Deluxe Special Edition

DEEA28D8F_106760_b

สำหรับผู้ที่ต้องการสมาร์ทโฟนประสิทธิภาพสูง เอซุสขอนำเสนอ Zenfone 2 Deluxe Special Edition ที่มีความพิเศษเหนือขึ้นไปยิ่งกว่ารุ่นปกติ ตั้งแต่ชิปประมวลผล Intel® Atom™ Processor Z3590 (2M Cache, up to 2.50 GHz) แบบควอดคอร์ ร่วมกับแรมถึง 4GB หน่วยความจำภายในที่มีความจุถึง 128GB และการ์ดหน่วยความจำแบบ MicroSD ความจุ 128GB ที่ติดตั้งมาให้ในเครื่อง รวมแล้วมีความจุให้ใช้งานทั้งสิ้นถึง 256GB ยิ่งเป็นการเพิ่มความพิเศษให้กับเอซุส Zenfone 2 Deluxe Special Edition เข้าไปอีกเท่าตัว

Deluxe_Special Edition_DriftSilver_5

เอซุส Zenfone 2 Deluxe Special Edition นี้ มีความโดดเด่นที่ฝาหลัง ซึ่งมีการออกแบบในลักษณะของลายเส้นตัดกันอย่างปราณีตและลงตัว เกิดเป็นความงามแบบคริสตัลดุจอัญมณีล้ำค่า มีรอยหยักที่แสดงถึงความแตกต่างกันของระดับพื้นผิว ก่อให้เกิดเป็นรูปลักษณ์แบบ 3 มิติ ทำให้ผู้ใช้รู้สึกถึงสัมผัสการใช้งานที่แตกต่างจากสมาร์ทโฟนทั่วไป โดยในรุ่น Special Edition นี้ ก็เลือกใช้สีพิเศษคือสีเงิน ซึ่งสื่อถึงความหรูหราสง่างามในตัวเอง และด้วยฝาหลังลวดลายแบบเคฟล่าร์ ยังสื่อถึงความดุดันและความรวดเร็ว สะท้อนให้เห็นถึงจุดเด่นของ Zenfone 2 Deluxe Special Edition ที่มีประสิทธิภาพสูง บ่งบอกไลฟ์สไตล์ความเป็นตัวคุณ

นอกจากนี้ภายในยังพรีโหลดเกม Asphalt 8: Airborne พร้อมเครดิตสำหรับใช้งานเฉพาะในเกม เพื่อเลือกซื้อรถ หรืออุปกรณ์เสริม เพื่อให้คุณได้สัมผัสถึงประสบการณ์แห่งความเร็ว แรงไปกับเกมได้อย่างเต็มอิ่มอีกด้วย

ASUS ZenPad 7.0 และ ZenPad C

FFF8E333A_100811_b

หลังจากปีที่ผ่านมา เอซุสได้เปิดตัวและวางจำหน่ายแท็บเล็ตในซีรี่ส์ ZenPad ซึ่งได้การตอบรับเป็นอย่างดี โดยเฉพาะ ZenPad 7.0 และ ZenPad C มีความโดดเด่นในด้านของดีไซน์ที่ผสมผสานความเป็นแฟชั่นลงในผลิตภัณฑ์ และมีรูปลักษณ์ที่แตกต่างจากแท็บเล็ตขนาด 7 นิ้วทั่วไปในตลาด สวยงามลงตัวและสะดวกในการพกพา

Z380KL_Gold_2

แท็บเล็ตทั้งสองรุ่นดังกล่าวได้รับการออกแบบให้เป็นแท็บเล็ตที่ตอบโจทย์ด้านความบันเทิงของผู้ใช้งานในปัจจุบัน เช่น ตัวเครื่องที่บางเบา สะดวกต่อการใช้งาน จอภาพที่มาพร้อมเทคโนโลยี TruVivid เพื่อภาพที่มีสีสันสวยงาม คมชัด ร่วมกับระบบเสียง DTS HD Premium Sound เพื่อคุณภาพเสียงที่ยอดเยี่ยม ให้เสียงรอบทิศทางเสมือนจริง

ภายในอัดแน่นด้วยขุมพลังของชิปประมวลผล Intel® Atom™ x3-C3230 Processor แบบควอดคอร์ 64 บิท ที่ทำให้ทุกการทำงานเป็นไปได้อย่างราบรื่น หน่วยความจำ 16GB รองรับการใช้งาน 2 ซิม (ZenPad C) หรือ 1 ซิม (ZenPad 7.0) ซึ่งสามารถใช้เป็นโทรศัพท์ได้อีกด้วย ทำให้ ZenPad เป็นหนึ่งในอุปกรณ์ที่จะมาเติมเต็มประสบการณ์ชีวิตดิจิตอลของคุณให้สมาร์ทและสนุกยิ่งขึ้นกว่าที่เคยเป็นมา

from:http://www.flashfly.net/wp/?p=137533

ຣີວິວ ASUS Zenpad 7.0 (Z370CG) ແທັບເລັດເຈັດນິ້ວ ແຖມໂທໄດ້ ໃນລາຄາສຸດປະຫຍັດ

ຣີວິວ  ASUS Zenpad 7.0 (Z370CG) ແທັບເລັດເຈັດນິ້ວ ແຖມໂທໄດ້ ໃນລາຄາສຸດປະຫຍັດ

 

ຫລັງຈາກເປີດໂຕກັນມາບໍ່ດົນໃນປະເທດໄທສຳລັບແທັບເລັດເຄື່່ອງໃຫມ່ຈາກທາງ ASUS ເຈົ້າຂອງຕະຫລາດລາຄາປະຫຍັດທີ່ຜະລິດເຄື່ອງສະມາດໂຟນ ແລະ ແທັບເລັດລະບົບ Android ອອກມາຈຳຫນ່າຍໃນລາຄາ ແລະ ສະເປັກສຸດຄຸ້ມຄ່າ ແລະ ໂຕລ່າສຸດນັ້ນກໍ່ຄື ASUS Zenpad 7.0 ເຊິ່ງເປັນໂຕທີ່ທາງ ASUS ເບິ່ງຄືຈະໃສ່ໃຈເປັນພິເສດ ແລະລາຄານັ້ນບໍ່ແພງເລີຍ ASUS Zenpad 7.0 ຈຳຫນ່າຍໃນລາຄາ 5.990 ບາດ ຫລື ປະມານ 1.370.000 ກີບເທົ່ານັ້ນເອງ.

P8282046

 

ASUS Zenpad 7.0 ເປັນເຄື່ອງແທັບເລັດລະບົບ Android ທີ່ເນັ້ນຈຸດຂາຍມາໃນເລື່ອງຂອງລາຄາຈຳຫນ່າຍທີ່ຖືກຫລາຍ ແຕ່ເປັນເຄື່ອງລາຄາຖືກທີ່ມາພ້ອມກັບຄວາມໃສ່ໃຈໃນລາຍລະອຽດ ບໍ່ວ່າຈະເປັນການອອກແບບ ແລະ ອຸປະກອນເສີມເພາະວ່າໃນການເປີດໂຕທີ່ຜ່ານມາແທັບເລັດຕະກູນ Zenpad ນັ້ນມີການປະກາດອອກມາຫລາຍລຸ່ນ ແຕ່ລຸ້ນທີ່ມາພ້ອມກັບເຄສ ແລະ ອຸປະກອນເສີມຄັກໆນັ້ນມີແຕ່ຕະກູນ Zenpad 7.0 ໂຕນີ້ໂຕດຽວເທົ່ານັ້ນ.

P8282045

ການອອກແບບນັ້ນເບິ່ງຂ້ອນຂ້າງແປກຕາ ຮູບຊົງດ້ານຫນ້າອາດຈະຄຸ້ນໆ ແຕ່ດ້ານຫລັງພັດອອກແບບມາໃຫ້ເຫມືອນກັບການໃຊ້ງານແນວນອນ ຝາຫລັງບໍ່ເຕັມຫລັງ ເປັນຝາປິດແບບພຽງແຕ່ສ່ວນເທິງ ເຊິ່ງການອອກແບບໆນີ້ແຫລະທີ່ເຮັດໃຫ້ມີການຕໍ່ຍອດສາມາດໃຊ້ງານກັບເຄສເສີມຂອງມັນໄດ້ສາລະພັດ.

P8282049

ໂຕເຄື່ອງພາຍນອກ

ໂຕເຄື່ອງສ່ວນໃຫຍ່ໃຊ້ວັດສະດຸປາສຕິກ ຫນ້າຈໍ 7 ນີ້ວເຄິ່ງແຕ່ເຄື່ອງບໍ່ໃຫຍ່ຫລາຍ ເນັ້ນການໃຊ້ງານໃນຮູບແບບແນວຕັ້ງຄ້າຍຈະເປັນໂທລະສັບຫລາຍກວ່າແທັບເລັດ.

P8282042

 

ປຸ່ມຄວບຄຸມຢູ່ເທິງຫນ້າຈໍທັງຫມົດ ປຸ່ມເພີ່ມລົດສຽງ ແລະ ປຸ່ມ Power ຢູ່ດ້ານຂວາຂ້າງດຽວກັນ (ກົດປຸ່ມລົດສຽງ + ພາເວີ້ ເປັນການເຊບພາບຫນ້າຈໍ)

P8282055

 

ດ້ານຫນ້າຈໍເປັນລຳໂພງ ແລະ ກ້ອງຫນ້າ ລຳໂພງບ່ອນນີ້ໃຊ້ເປັນທັງລຳໂພງຫລັກຂອງເຄື່ອງ ແລະ ລຳໂພງສົນທະນາ.

P8282038

 

ດ້ານຫລັງອອກແບບແປກຕາໄປເລັກນ້ອຍ ເພາະວ່າມາເປັນແນວນອນ ທາງ ASUS ເຂົາວ່າການອອກແບບນີ້ໄດ້ແຮງບັນດານໃຈມາຈາກກະເປົາຂອງຜູ່ຍິງ ສ່ວນໂຕເຄື່ອງຈະເປັນສີລ້ວນແຕ່ຝາຫລັງບໍລິເວນນີ້ຕ່າງກັນອອກໄປຫລາຍສີ.

 

ເຖິງຝາຫລັງຈະເປີດໄດ້ ແຕ່ປ່ຽນແບັດຯເຄື່ອງເອງບໍ່ໄດ້ ເປີດອອກມາເພື່ອໃສ່ຊິມ ແລະ ໃສ່ Micro SD Card ເທົ່ານັ້ນ.

P8282059

 

ຈະສັງເກດເປັນຂົ້ວໄຟຢູ່ໃຕ້ຝາຫລັງນີ້ ເປັນຄວາມພິເສດຂອງ ASUS Zenpad 7.0 ເພາະມັນຈະສາມາດເຊື່ອມຕໍ່ການເຮັດວຽກ ແລະ ພະລັງງານກັບເຄສພິເສດຕ່າງໆທີ່ອີກຈັກຫນ່ອຍຈະມາແນະນຳກັນໃນທ້າຍໆບົດຣີວິວໃຫ້ເບິ່ງເນາະ ^_^

P8282041

 

ສະເປັກເຄື່ອງ ASUS Zenpad 7.0 Z370CG

OS The latest Android 5.0 Lollipop
Display 7″ LED Backlight IPS panel, 1280 x 800 (WXGA); 16:1010 finger multi-touch supportTP Full-Lamination  bonding technology
CPU Intel A 3G-R Z5210RK Quad-Core processor, 1.2 GHz
Memory 2GB
Storage 16GB(5GB Life Time ASUS Webstorage Space ; with an additional 11GB for the first year)
Graphic Mali-450
Wireless Data Network WLAN 802.11 b/g/n, Bluetooth V4.0 + BLE, Support Miracast
Camera 2 MP Front8 MP Rear
Audio Single Front Stereo Speakers  with SonicMaster technology
Interface 1 × Micro USB    1 × 2-in-1 Audio Jack (Headphone / Mic-in) 1 × Digital Microphone   1 × Micro SD Card Reader, up to 64GB (SDXC) Single SIM
Sensor G-Sensor / E-compass / GPS / Light / Proximity / Hall Sensor
Battery 9 hours ; 13 Wh Li-polymer Battery
Navigation E-compass & GPS
Color Black / White / Metallic
Dimensions & Weight 189mm (L) x 110.9mm (W) x 8.7mm (H), 272g

 

DSC06849-610x406

 

ການໃຊ້ງານພາຍໃນ

ASUS Zenpad 7.0 ມາພ້ອມກັບ Android L 5.0 ແຕ່ປັບແຕ່ງການໃຊ້ງານດ້ວຍ ZenUIທີ່ມີຟັງຊັ່ນຫລາຍເລີຍແຫລະ ສຳລັບປະສິດທິພາບການເຮັດວຽກທົ່ວໄປຫລາຍຄົນບອກວ່າມັນຊ້າ ແລະ ຫນ່ວງ ມັນກໍ່ຂ້ອນຂ້າງຊ້າແທ້ ແລະ ມັນມີເຫດຜົນທີ່ເພີ່ມຕື່ມດ້ວຍເພາະເຄື່ອງທີ່ຫລາຍຄົນທົດສອບໃຊ້ງານສ່ວນໃຫຍ່ຈະຢູ່ໃນໂຫມດການປະຫຍັດພະລັງງານຂັ້ນພື້ນຖານມາເປັນຄ່າເລີ່ມຕົ້້ນນັ້ນຄືມັນຈະຢູ່ໃນໂຫມດ “ການປະຫຍັດພະລັງງານແບບສະມາດ” ໂດຍມັນຈະເປັນໂຫມດທີ່ປັບສົມດຸນການໃຊ້ງານພະລັງງານໃຫ້ຍາວນານທີ່ສຸດ ສົ່ງຜົນໃຫ້ສຳຜັດທຳອິດກໍ່ຮູ້ສຶກວ່າມັນຫນ່ວງກວ່າທີ່ຄາດໄວ້ຫລາຍ ຕ້ອງລອງເຂົ້າໄປປິດມັນສະກ່ອນໃນການຕັ້ງຄ່າພາຍໃນ ແຕ່ຫລັງຈາກປິດໂຫມດປະຫຍັດພະລັງງານແລ້ວ ກໍ່ບໍ່ໄດ້ເປັນເຄື່ອງທີ່ລ່ຽນໄຫລປານໃດ ລະດັບກາງໆ ແຕ່ເຄື່ອງກໍ່ບໍ່ໄດ້ແຮງຢູ່ແລ້ວໄປລົດປະສິດທິພາບມັນລົງເພື່ອປະຫຍັດແບັດຯອີກກໍ່ຍິ່ງເຮັດໃຫ້ຊ້າເຂົ້າໄປອີກ.

Screenshot_2015-08-27-20-26-27-horz

 

ZenUI ມີຂໍ້ດີທີ່ເດັ່ນໆໃນເລື່ອງຂອງການປັບແຕ່ງ ແລະ ລູກຫລີ້ນ ໃນຫນ້າໂຮມຂອງທາງ ASUS Zenpad 7.0 ຈະສາມາດປັບແຕ່ງໄດ້ຫລາກຫລາຍ ຕັ້ງແຕ່ດາວໂຫລດ ແລະ ເລືອກໃຊ້ໄອຄອນໃນລັກສະນະຕ່າງໆ ເຊິ່ງເຮົາສາມາດດາວໂຫລດເພີ່ມຕື່ມມາໃຊ້ງານໄດ້ຈາກ Playstore

Screenshot_2015-08-27-20-58-19-horz

 

ການປັບແຕ່ງອະນິເມຊັ່ນເຄື່ອນໄຫວຂອງຫນ້າໂຮມ

Screenshot_2015-08-27-21-01-14

 

ການປັບແຕ່ງຟ້ອນໂຕອັກສອນທີ່ມີໃຫ້ເຮົາເລືອກໃຊ້ຫລາຍ ປັບແຕ່ງຂະຫນາດ ແລະ ສີຂອງປ້າຍໄອຄອນ ເຮົາເລືອກເອງໄດ້ຕາມໃຈທັງຫມົດ.

Screenshot_2015-08-27-21-01-33-horz

 

ການເລືອກຮູບແບບຫນ້າໂຮມ ວ່າຕ້ອງການຈະເປັນແບບສອງຊັ້ນ (ມີຫນ້າໂຮມ ແລະ ຫນ້າ Appdrawer ລວມແອັບຯແຍກອອກຈາກກັນ) ຫລື ຈະເອົາເປັນແບບຫນ້າໂຮມຊັ້ນດຽວຄືຫນ້າລວມລາຍການແອັບຯຈະມາຢູ່ລວມໃນດ້ານນອກທັງຫມົດ ບໍ່ມີຫນ້າ Appdrawer ອີກຕໍ່ໄປ.

Screenshot_2015-08-27-21-01-54

 

ປັບແຕ່ງໄດ້ຫລາກຫລາຍ

ໃຊ້ງານໄດ້ທັງແນວຕັ້ງ ແລະ ແນວນອນ

Screenshot_2015-08-27-21-08-48

 

ໃນຫນ້າການແຈ້ງເຕືອນຈະເຫັນໄອຄອນຟັງຊັ່ນການເຮັດວຽກບາງໂຕທີ່ເປັນຂອງທາງ ASUS ເອງເຊັ່ນ: ໂຕຈັດການການເລີ່ມເຮັດວຽກໂດຍອັດຕະໂນມັດ ສຳລັບອຸປະກອນທີ່າະເປັກບໍ່ສູງຫລາຍ ຟັງຊັ່ນນີ້ມີະໂຫຍດຫລາຍ ເພາະມັັນຄືຄວາມສາມາດໃນການປິດກັ້ນການເລີ່ມເຮັດວຽກເອງຂອງໂຕໂປຣແກຣມທີ່ບໍ່ຈຳເປັນ ເຊິ່ງປົກະຕິແອັບຯບາງໂຕຂອງລະບົບແອນດຣອຍ ມັນມັກເລີ່ມເຮັດວຽກເອງເບື້ອງຫລັງ ແຕ່ໃນ ASUS Zenpad 7.0 ແມ່ນຫມົດສິດ ເພາະເຮົາລັອກມັນໄວ້ໄດ້.

Screenshot_2015-08-27-21-07-46-horz

 

“ບັນທຶກຫຍໍ້” ການຈົດບັນທຶກດ່ວນທີ່ເຮົາເອີ້ນໃຊ້ໄດ້ຈາກຫນ້າແຈ້ງເຕືອນນີ້ເລີຍ ສາມາດບັນທຶກໄດ້ັທັງແບບລາຍມື ແລະ ການພິມຂໍ້ຄວາມ.

 

ໂຕກອງແສງສີຟ້າເຊິ່ງຕອນນີ້ກຳລັງນິຍົມເລີຍຢ່າງພວກຟີມກອງແສງສີຟ້າ ທີ່ເຂົາວ່າຈະເປັນອັນຕະລາຍຕໍ່ຫນ່ວຍຕາຂອງເຮົາ ສຳລັບ ASUS Zenpad 7.0 ມີໃສ່ມາໃຫ້ເປັນຟັງຊັ່ນການກອງແສງເລີຍ ໂດຍຈະປ່ຽນໂທນສີຫນ້າຈໍໃຫ້ອອກເຫລືອງໆແທນ ເຊິ່ງຈະສົ່ງຜົນໃຫ້ສະບາຍຕາຫລາຍຂຶ້ນນັ້ນເອງ.

P1015235

 

ຫນ້າການຕັ້ງຄ່າຈະແຍກເປັນສອງແຖວຄືກັບເຄື່ອງແທັບເລັດ ສ່ວນທີ່ຫນ້າສົນໃຈໃນການຕັ້ງຄ່າເປັນພິເສດໃນ ASUS Zenpad 7.0 ກໍ່ຫນ້າຈະເປັນເລື່ອງຂອງການສະແດງຜົນ ນອກຈາກຈະປັບຕັ້ງຂະຫນາດຟ້ອນ ຫລື ການເປີດໂຫມດແສງສີຟ້າໄດ້ແລ້ວເຮົາຍັງສາມາດປັບຕັ້ງໂທນສີ ແລະ ຄວາມສົດຂອງຫນ້າຈໍໄດ້ໃນລະດັບເລິກໃນການຕັ້ງຄ່າສ່ວນນີ້ ຢາກໄດ້ສີສົດປະມານໃດ ຫນ້າຈໍອອກໂທນສີແບບໃດກໍ່ປັບຕັ້ງໄດ້ເລີຍ.

Screenshot_2015-08-27-21-18-28-horz

 

Zenmotion ການສັ່ງງານດ້ວຍການສຳຜັດ ແລະ ລັກສະນະພິເສດເຊັ່ນການເຄາະຫນ້າຈໍສອງຄັ້ງເພື່ອລັອກຫນ້າຈໍ ແລະ ປົດລັອກຫນ້າຈໍເປັນຕົ້ນ ການຂຽນໂຕອັກາອນລົງເທິງຫນ້າຈໍເພື່ອເອີ້ນໃຊ້ແອັບຯ ຫລື ການເຮັດວຽກທີ່ເຮົາລະບຸເອົາໄວ້ໄດ້ ຫລື ການສັ່ນເຄື່ອງເພື່ອຈັບພາບຫນ້າຈໍ ຫລື ການພິກເຄື່ອງຂວ້ຳລົງເພື່ອປິດສຽງແຈ້ງເຕືອນ ເຫລົ່ານີ້ຄືຄວາມສາມາດທີ່ເຮົາມາເປີດໃຊ້ງານໄດ້ໃນຫນ້າການຕັ້ງຄ່າ Zenmotion ແຕ່ບອກກ່ອນວ່າເປີດໃຊ້ງານພວກນີ້ຫລາຍໆເຮັດໃຫ້ເປືອງແບັດຯ ແລະ ການໃຊ້ງານໂຕຈິງອອກຈະສ້າງຄວາມລຳຄານຫລາຍກວ່າ.

Screenshot_2015-08-27-21-20-19

 

ໂຕ ASUS Zenpad 7.0 ຈະມີເຄສຝາປິດທີ່ເປັນເຄສເສີມອອກມາຈຳຫນ່າຍເຮົາສາມາດຕັ້ງຄ່າໄດ້ວ່າຈະໃຫ້ໃຊ້ງານຮ່ວມກັບການປິດຝາເຄສແບບໃດ ໃຫ້ລັອກເຄື່ອງ ແລະ ປົດລັອກເຄື່ອງແບບອັດຕະໂນມັດ ຫລື ບໍ່.

 

ພະລັງງານແບບສະມາດຢູ່ແລ້ວເຮົາສາມາດປິດມັນໄດ້ເພື່ອເພີ່ມປະສິດທິພາບມັນອີກເລັກນ້ອຍໂດຍແບັດຯຂະຫນາດ 3,450 mAh ຂອງມັນສາມາດຢູ່ກັບເົຮາໄດ້ເຖິງຄ່ຳ ສາກກັນມື້ຕໍ່ມື້ ແຕ່ກໍ່ທົນພໍທີ່ຈະກັບມາເຖິງບ້ານໄດ້.

Screenshot_2015-08-27-21-29-13

 

ການຕັ້ງຄ່າທີ່ຫນ້າສົນໃຈອີກໂຕຫນຶ່ງໃນເຄື່ອງ ASUS Zenpad 7.0 ກໍ່ຄື: ໂຕຕັ້ງຄ່າແບບກຳນົດເອງ ທີ່ໃຫ້ເຮົາເຂົ້າໄປຕັ້ງຄ່າວິທີການເຊັບພາບຫນ້າຈໍ ແລະ ກຳນົດແຫລ່ງຕິດຕັ້ງແອັບຯພື້ນຖານວ່າຕ້ອງການໃຫ້ຕິດຕັ້ງລົງຫນ່ວຍຄວາມຈຳເຄື່ອງຫລືຖ້າເປັນໄປໄດ້ໃຫ້ຕິດຕັ້ງລົງຫນ່ວຍຄວາມຈຳພາຍນອກເປັນຕົ້ນ ສາມາດກຳນົດໂຕ Toggle ເປີດປິດຟັງຊັ່ຍດ່ວນໃນຫນ້າແຈ້ງເຕືອນໄດ້ໃນການຕັ້ງຄ່າສ່ວນນີ້.

Screenshot_2015-08-27-21-34-44-horz

 

ASUS ຍັງໄດ້ອອກແບບການໃຊ້ງານຂອງເຄື່ອງໃຫ້ເຫມາະສົມກັບຜູ່ໃຊ້ງານສະມາດໂຟນ ຫລື ແທັບເລັດແອນດຣອຍໄດ້ບໍ່ຊຳນານປານໃດດ້ວຍ “ໂຫມດງ່າຍ” ໂຫມດການເຮັດວຽກທີ່ແປງຫນ້າຕາ UI ໃຫ້ໃຊ້ງານງ່າຍໆມີໄອຄອນໃຫຍ່ໆ ສຳລັບການປັບເຄື່ອງ ASUS Zenpad 7.0 ໃຫ້ເຫມາະກັບເດັກ ຫລື ຜູ່ສູງອາຍຸນັ້ນເອງ.

 

ຫລືຈະເປັນໂຫມເດັກທີ່ເປັນແອັບຯສະເພາະທີ່ທາງ ASUS ມອບໃຫ້ ແອັບຯທີ່ຈະເຮັດໃຫ້ເຄື່ອງຂອງເຮົາປອດໄພຕໍ່ການໃຊ້ງານຂອງເດັກນ້ອຍ ເພາະເຮົາສາມາດກຳນົດຂອບເຂດການຫລີ້ນຂອງເຂົາໄດ້ ກຳນົດເວລາໃນການຫລີ້ນ ກຳນົດແອັບຯທີ່ເຂົາຫລີ້ນ ໃຫ້ເຂົາໃຊ້ເນັດບຣາວເຊີ້ທີ່ປອດໄພດ້ວຍການກັ່ນກອງຂອງໂຕລະບົບ ເຊິ່ງຈະສາມາດໃສ່ລະຫັດຂອງເຮົາເອົາໄວ້ໄດ້ເພື່ອປ້ອງກັນບໍ່ໃຫ້ເຂົາອອກຈາກໂຫມດເດັກເມື່ອເຮົາບໍ່ຢູ່ “ໂຫມດເດັກ” ເປັນແອັບຯຫນຶ່ງທີ່ຫນ້າສົນໃຈໃນ ASUS Zenpad ແລະ Zenfone ເຊິ່ງຫນ້າຈະມີຢູ່ທຸກເຄື່ອງ.

Screenshot_2015-08-27-21-44-27-horz

 

ແອັບຯທີ່ທາງ ASUS ກຽມເອົາໄວ້ໃຫ້ກັບຜູ່ໃຊ້ໃນເຄື່ອງກໍ່ມີຫລາກຫລາຍ ຫນ້າຈະຄົບກັບການໃຊ້ງານຂັ້ນພື້ນຖານແລ້ວທຸກຢ່າງ.

Screenshot_2015-08-27-21-40-42

 

ແລະຈະມີແອັບຯດ້ານການບໍລິການທີ່າຳຄັນອີກສອງໂຕ ນັ້ນຄື MyASUS ສຳລັບການຕິດຕາມງານສ້ອມແປງ ແລະ ສອບຖາມຂໍ້ມູນ.

Screenshot_2015-08-27-21-41-01

 

ອີກຫນຶ່ງໂຕຄື ASUS Support ສຳລັບການຊ່ງຍເຫລືອ ຄູ່ມື ແລະ ເຄື່ອງມືຈັດການເຄື່ອງດ້ວຍຕົນເອງເຊັ່ນ ການ ເຄຣຍແຣມ, ຈັດການແອັບຯເປັນຕົ້ນ.

Screenshot_2015-08-27-21-41-36-horz

 

ຜົນທົດສອບຂອງ ASUS Zenpad 7.0

ຫນ່ວຍຄວາມຈຳໃນເຄື່ອງມີ 16 GB ໃຊ້ໄດ້ແທ້ 11GB

Screenshot_2015-08-27-21-51-09-tile

 

ການຈັບສັນຍານ GPS ບໍ່ເປີດເນັດຊ່ວຍຕ້ອງໃຊ້ເວລາໃນການຫາຕຳແຫນ່ງເລັກນ້ອຍ ແຕ່ກໍ່ຖືວ່າຍັງຢູ່ໃນລະດັບໃຊ້ໄດ້ ຖ້າມີເນັດຊ່ວຍກໍ່ສາມາດນຳໄປໃຊ້ນຳທາງໄດ້ເລີຍ.

 

ທົດສອບການຫລີ້ນໄຟລຫນັງ Full HD ກໍ່ຫລີ້ນໄດ້ບໍ່ກະຕຸກ ແຕ່ມີສະດຸດຢູ່ໃນເວລາຂ້າມເວລາໄປຂ້າມເວລາມາ ສ່ວນດ້ານສຽງລຳໂພງໂຕເຄື່ອງດັງດີ ສຽງອອກແຫລມໆ ບໍ່ແຕກ ຖືວ່າໃຊ້ໄດ້.

P1015244

 

ຫນ້າຈໍຂະຫນາດເຈັດນີ້ວແບບກຳລັງເຫມາະມື ເຫມາະສົມສຳລັບການອ່ານ.

P1015238

 

ຫນ້າຕາແປ້ນພິມຂອງເຄື່ອງ ASUS Zenpad 7.0

Screenshot_2015-08-27-22-26-38-tile

 

ກ້ອງຖ່າຍພາບ

ກ້ອງຫລັງ 8 ລ້ານພິກເຊວ ກ້ອງຫນ້າ 2 ລ້ານພິກເຊວ ຟັງຊັ່ນກ້ອງຫລາຍສຸດຍອດດດ ແຕ່ຄຸນນະພາບຂອງພາບຖ່າຍສຸດແສນຈະທຳມະດໍດາ ຖ່າຍກາງເວັນແສງພຽງພໍກໍ່ຖືວ່າຖ່າຍໄດ້ຕະຫລອດ ແຕ່ພໍແສງນ້ອຍໃນບ່ອນຮົ່ມກໍ່ເລີ່ມອອກອາການ ຕັ້ງຄວາມຫວັງຫລາຍບໍ່ຄ່ອຍໄດ້ເລີຍ ສຳລັບກ້ອງຂອງ ASUS Zenpad 7.0

Screenshot_2015-08-27-22-05-55

 

ຟັງຊັ່ນ ແລະ ການຕັ້ງຄ່າຢ່າງຫລາຍຍຍຍຍຍຍ

Screenshot_2015-08-27-22-06-01

ຕົວຢ່າງພາບຖ່າຍ

P_20150828_114803

P_20150828_114818

P_20150828_114853

P_20150828_114908

 

ຟັງຊັ່ນການຖ່າຍພາບດ້ວຍກ້ອງຫນ້າ ເຊວຟີ່ມາເຕັມຂັ້ນ ຕາໂລ້ ຜິວຂາວ ຫນ້າໃສ ຄາງແຫລມ ຈັດມາໄດ້ຫມົດແບບສຸດໆ

Screenshot_2015-08-27-22-04-27

P_20150828_115033_BF

 

ອຸປະກອນເສີມ ASUS Zenpad 7.0 ບັນດາເຄສຝາຫລັງມະຫັດສະຈັນ

ອີກຫນຶ່ງໄມ້ຕາຍຂອງເຄື່ອງ ASUS Zenpad 7.0 ຄືອຸປະກອນເສີມຈາກທາງ ASUS ເຊິ່ງຈະເປັນບັນດາຝາຫລັງທີ່ອອກແບບມາເພື່ອສ້າງຄວາມແຕກຕ່າງໃນຫານເລືອກໃຊ້ ເພາະມັນຈະມີຝາຫລັງທັງແບບແຟຊັ່ນຫລາກຫລາຍສີ ແບບເປັນເຫມືອນກະເປົາເງີນຂອງຜູ່ຍິງທີ່ເບີ່ງແລ້ວກໍ່ງາມໄປອີກແບບ.

P8282061

P8282063

P8282064

P8282065

P8282067

 

ແຕ່ຍັງມີອີກຫນຶ່ງໂຕເດັດຄືຝາຫລັງທີ່ເປັນແບັດຯເສີມໃນໂຕ ພຽງປ່ຽນຝາຫລັງກໍ່ເປັນການເພີ່ມແບັດຯໃນໂຕໄດ້ແລ້ວ.

DSC06883-610x406

 

ຍັງມີເຄສອີກແບບຄືເຄສຝາປິດແບບເປັນລຳໂພງ DTS 5.1 ເຊິ່ງໂຕນີ້ໄດ້ຈັບມາຣີວິວພ້ອມໆກັບເຄື່ອງ ASUS Zenpad 7.0 ດ້ວຍ

P8282071

 

ຝາຫລັງພ້ອມລຳໂພງໂຕນີ້ອອກແບບມາເພື່ອໃຊ້ງານກັບໂຕເຄື່ອງ ASUS Zenpad 7.0 ໂດຍກົງເລີຍ ມັນຈະປ່ຽນໃຊ້ງານແທນຝາຫລັງເກົ່າຂອງໂຕເຄື່ອງ ແລະ ຂົ້ວໄຟຟ້າຫລັງໂຕເຄື່ອງກໍ່ຈະສົ່ງຜ່ານສັນຍານສຽງ ແລະ ລ້ຽງພະລັງງານໄປໃຫ້ແກ່ກັນ ແລະ ກັນໂດຍອັດຕະໂນມັດເຮົາບໍ່ຕ້ອງທຳການຈັບຄູ່ເຊື່ອມຕໍ່ໃດໆເລີຍ ພຽງແຕ່ໃສ່ມັນເຂົ້າໄປດ້ວຍກັນກໍ່ເທົ່ານັ້ນ.

P8282069

P8282079

P8282074

 

ຝາພັບພ້ອມລຳໂພງນີ້ ຈະມີແບັດຯຂອງໂຕມັນເອງຢູ່ເຊັ່ນກັນ ເມື່ອເຮົາສາກພະລັງງານຜ່ານໂຕເຄື່ອງໂທລະສັບ ຝາພັບລຳໂພງໂຕນີ້ກໍ່ຈະສາກພະລັງງານໄປດ້ວຍໃນໂຕ ແຕ່ໃນຂະນະສາກຈະບໍ່ສາມາດໃຊ້ລຳໂພງໂຕນີ້ໄດ້ ສຽງທີ່ອອກຈະຖືກສະລັບໄປຍັງໂຕເຄື່ອງ ASUS Zenpad 7.0 ໂດຍອັດຕະໂນມັດ.

P8282075

 

ສ່ວນຄຸນນະພາບສຽງຂອງເຄສຝາພັບລຳໂພງໂຕນີ້ ກ່ອນອື່ນເລີຍມັນດັງ ສຽງດັງກວ່າລຳໂພງໂຕເຄື່ອງແທັບເລັດຫລາຍ ມີເນື້ອສຽງຫລາຍກວ່າ ແຕ່ກໍ່ບໍ່ແມ່ນວ່າສຽງມັນຈະເທບຄືກັບລຳໂພງດີໆ ມັນດີປະມານຫນື່ງ ເບິ່ງຫນັງໄດ້ ຟັງເພງໄດ້ ແຕ່ເປີດດັງໆສຽງມັນກໍ່ອອກແຫລມໆ ເປີດພໍປະມານຈະໄດ້ສຽງກຳລັງດີ.

P8282078

ເບິ່ງແລ້ວເທ່ໄປອີກແບບສຳລັບເຄສແປກໆແບບນີ້.

 

ສະຫລຸບທ້າຍຣີວິວ

ASUS Zenpad 7.0 ເປັນເຄື່ອງຄຸ້ມຄ່າໃນດ້ານຂອງການໃຊ້ງານ ໂທອອກໄດ້ ໂຕເຄື່ອງສວຍງາມ ສະເປັກພໍໃຊ້ໄດ້ ໃນລາຄາບໍ່ແພງ ແຕ່ປະສິດທິພາບຫນ້າແປກໃຈເລັກນ້ອຍສຳລັຫນ່ວຍປະມວນຜົນໂຕໃຫມ່ຂອງ Intel ກັບແຣມ 2GB ມັນຫນ້າຈະລ່ຽນໄຫລກວ່ານີ້ໃນຫນ້າໂຮມ.

ແຕ່ດ້ວຍລາຄາທີ່ຕັ້ງມາບໍ່ແພງກໍ່ພໍໄຫວຫນ້າສົນໃຈສຳລັບໄຜທີ່ກຳລັງຊອກຫາເຄື່ອງແທັບເລັດແອນດຣອຍ ທີ່ຄຸ້ມຄ່າຄົບຖ້ວນໃນລາຄາຖືກ ບໍ່ຕ້ອງການສະເປັກແບບອະລັງການຫລາຍ ASUS Zenpad 7.0 ໂຕນີ້ຫນ້າຈະນຳໄປພິຈາລະນາ.

 

เกรด C พอถูไถ !

from:http://www.appdisqus.com/2015/10/18/review-asus-zenpad-7-0-z370cg.html

รีวิว ASUS Zenpad 7.0 (Z370CG) แท็บเล็ตโทรได้ในราคาสุดประหยัด

หลังจากเปิดตัวกันมาไม่นานเท่าไหร่ในประเทศไทยสำหรับแท็บเล็ตเครื่องใหม่จากทาง ASUS เจ้าตลาดราคาประหยัดที่ผลิตเครื่องสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตระบบ Android ออกมาจำหน่ายในราคาและสเปคคุ้มค่าเข้าตาคนไทยหลายๆ ตัว และล่าสุดนั้นคือ ASUS Zenpad แท็บเล็ตแอนดรอยด์ที่สามารถโทรเข้าโทรออกได้ จริงๆ แล้วเปิดตัวมาพร้อมกันหลายรุ่นครับ แต่รุ่นที่ผมจะรีวิวนั้นคือ ASUS Zenpad 7.0 ซึ่งเป็นตัวที่ทาง ASUS ดูจะใส่ใขเป็นพิเศษ และมีการนำเข้ามาจำหน่ายแล้ววในบ้านเรา ซึ่งราคานั้นไม่แพงเลยครับ Zenpad 7.0 จำหน่ายในราคา 5,990 บาทเท่านั้นเองครับ

P8282046

 

Zenpad 7.0 เป็นเครื่องแท็บเล็ตระบบแอนดรอยด์ ที่เน้นจุดขายมาในเรื่องของราคาจำหน่ายที่ถูกมาก แต่เป็นเครื่องราคาถูกที่มาพร้อมกับความใส่ใจในรายละเอียด ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบและอุปกรณ์เสริม เพราะในการเปิดตัวที่ผ่านมา แท็บเล็ตตระกูล Zenpad นั้นมีการประกาศออกมาหลายรุ่นครับ แต่รุ่นที่มาพร้อมกับเคสและอุปกรณ์เสริมเจ๋งๆ นั้น มีแต่เจ้าตัว Zenpad 7.0 ตัวนี้ตัวเดียวเท่านั้นเลยครับ

P8282045

การออกแบบนั้นดูค่อนข้างแปลกตาครับ รูปทรงด้านหน้าอาจจะคุ้นๆ แต่ด้านหลังกลับออกแบบมาเหมือนให้ใช้งานแนวนอน ฝาหลังไม่เต็มหลัง เป็นฝาปิดแบบแค่ส่วนบน ซึ่งการออกแบบนี้แหละครับ ที่ทำให้มีการต่อยอดสามารถใช้งานกับเคสเสริมของมันได้สารพัดมากมาย

P8282049

ตัวเครื่องภายนอก

ตัวเครื่องส่วนใหญ่ใช้วัสดุพลาสติกครับ หน้าจอเจ็ดนิ้วแต่เครื่องไม่ใหญ่มาก เน้นการใช้งานในรูปแบบแนวตั้ง คล้ายจะเป็นโทรศัพท์มากกว่าแท็บเล็ตครับ

P8282042

ปุ่มควบคุมอยู่บนหน้าจอทั้งหมด ปุ่มเพิ่มเสียงลดเสียงและปุ่ม Power อยู่ด้านขวาข้างเดียวกัน (กดปุ่มลดเสียง + พาวเวอร์ เป็นการเซฟภาพหน้าจอ)

P8282055

ด้านบนหน้าจอเป็นลำโพงและกล้องหน้าครับ ลำโพงตรงนี้ใช้เป็นทั้งลำโพงหลักของเครื่องและลำโพงสนทนา

P8282038

ด้านหลังออกแบบแปลกตาไปสักหน่อย เพราะมาเป็นแนวนอน ทาง ASUS เขาว่าการออกแบบนี้ได้แรงบรรดาลใจมาจากกระเป๋าสุภาพสตรีครับ ตัวเครื่องจะเป็นสีล้วน แต่ฝาหลังตรงนี้จะต่างกันออกไปหลายสีครับ

P8282057

แม้ฝาหลังจะเปิดได้ แต่เปลี่ยนแบตเตอรี่เองไม่ได้นะครับ เปิดออกมาเพื่อใส่ซิมและใส่ Micro SD card เท่านั้นครับ

P8282059

เราจะเห็นขั้วไปอยู่ใต้ฝาหลังนี้ นี่เป็นความพิเศษของเจ้า Zenpad 7.0 เพราะมันจะสามารถเชื่อมต่อการทำงานและพลังงานกับเคสพิเศษต่างๆ ที่เดี๋ยวผมจะแนะนำกันในท้ายรีวิวให้ดูกันครับ

P8282041

สเปคเครื่อง ASUS Zenpad 7.0 Z370CG

OS The latest Android 5.0 Lollipop
Display 7″ LED Backlight IPS panel, 1280 x 800 (WXGA); 16:1010 finger multi-touch supportTP Full-Lamination  bonding technology
CPU Intel A 3G-R Z5210RK Quad-Core processor, 1.2 GHz
Memory 2GB
Storage 16GB(5GB Life Time ASUS Webstorage Space ; with an additional 11GB for the first year)
Graphic Mali-450
Wireless Data Network WLAN 802.11 b/g/n, Bluetooth V4.0 + BLE, Support Miracast
Camera 2 MP Front8 MP Rear
Audio Single Front Stereo Speakers  with SonicMaster technology
Interface 1 × Micro USB    1 × 2-in-1 Audio Jack (Headphone / Mic-in) 1 × Digital Microphone   1 × Micro SD Card Reader, up to 64GB (SDXC) Single SIM
Sensor G-Sensor / E-compass / GPS / Light / Proximity / Hall Sensor
Battery 9 hours ; 13 Wh Li-polymer Battery
Navigation E-compass & GPS
Color Black / White / Metallic
Dimensions & Weight 189mm (L) x 110.9mm (W) x 8.7mm (H), 272g

DSC06849-610x406

การใช้งานภายใน

Zenpad 7.0 มาพร้อมกับ Android L 5.0 แต่ครอบทับการทำงานด้วย ZenUI ที่มีฟังชั่นเยอะดีทีเดียวครับ สำหรับประสิทธิภาพการทำงานทั่วไปหลายคนบอกว่ามันช้าและหน่วง มันค่อนข้างช้าจริงครับ และมันมีเหตุผลเพิ่มเติมด้วยครับ เพราะเครื่องที่หลายคนทดสอบใช้งานส่วนใหญ่จะอยู่ในโหมดการประหยัดพลังงานขั้นพื้นฐานมาเป็นค่าแรกเริ่ม นั้นคือมันจะอยู่ในโหมด “การประหยัดพลังงานแบบสมาร์ต” โดยมันจะเป็นโหมดที่ปรับสมดุลการใช้พลังงานให้ยาวนานที่สุด ส่งผลให้แรกสัมผัสผมก็รู้สึกว่ามันหนืดกว่าที่คาดไว้มากครับ ต้องลองเข้าไปปิดมันซะก่อนในการตั้งค่าภายใน  แต่หลังจากปิดโหมดประหยัดพลังงานแล้ว ก็ไม่ได้เป็นเครื่องที่ไหลลื่นมากนักนะครับ ระดับกลางๆ แต่เครื่องก็ไม่แรงอยู่แล้วไปลดประสิทธิภาพมันลงเพื่อประหยัดแบตอีกก็ยิ่งไปกันใหญ่เลยครับ

Screenshot_2015-08-27-20-26-27-horz

ZenUI มีข้อดีที่เด่นๆ ในเรื่องของการปรับแต่งและลูกเล่นครับ ในหน้าโฮมของทาง Zenpad 7.0 จะสามารถปรับแต่งได้มากมายเลย ตั้งแต่ดาวน์โหลดและเลือกใช้ไอคอนในลักษณะต่างๆ ซึ่งเราสามารถดาวน์โหลดเพิ่มเติมมาใช้งานได้จากใน Playstore

Screenshot_2015-08-27-20-58-19-horz

การปรับแต่งอนิเมชั่นเคลื่อนไหวของหน้าโฮม

Screenshot_2015-08-27-21-01-14

การปรับแต่งฟ้อนตัวอักษรที่มีให้เราเลือกใช้เพียบเลยครับ ปรับแต่งขนาดและสีของป้ายไอคอน เราเลือกเองตามใจได้ทั้งหมด

Screenshot_2015-08-27-21-01-33-horz

การเลือกรูปแบบหน้าโฮม ว่าต้องการจะเป็นแบบสองชั้น(มีหน้าโฮมและหน้า Appdrawer รวมแอพ แยกออกจากกัน) หรือจะเอาเป็นแบบหน้าโฮมชั้นเดียว คือหน้ารวมรายการแอพจะมาอยู่รวมในด้านนอกทั้งหมด ไม่มีหน้า Appdrawer อีกต่อไป

Screenshot_2015-08-27-21-01-54

ปรับแต่งได้เยอะมากครับ

ใช้งานได้ทั้งแนวตั้งและแนวนอน

Screenshot_2015-08-27-21-08-48

ในหน้าการแจ้งเตือน จะเห็นไอคอนฟังชั่นการทำงานบางตัวที่เป็นของทาง Asus เอง เช่นตัวจัดการการเริ่มทำงานโดยอัตโนมัติ สำหรับอุปกรณ์ที่สเปคไม่สูงมากนัก ฟังชั่นนี้มีประโยชน์มากทีเดียวครับ เพราะมันคือความสามารถในการปิดกั้นการเริ่มทำงานเองของตัวโปรแกรมที่ไม่จำเป็น ซึ่งปกติแอพพลิเคชั่นบางตัวของระบบแอนดรอยด์ มันชอบแอบเริ่มทำงานเองเบื้องหลัง แต่ใน Zenpad 7.0 หมดสิทธิ์ครับ เพราะเราล็อกมันไว้ได้ครับ

Screenshot_2015-08-27-21-07-46-horz

“บันทึกย่อ” การจดบันทึกด่วนที่เราเรียกใช้ได้จากหน้าแจ้งเตือนนี่เลยครับ สามารถบันทึกได้ทั้งแบบลายมือและการพิมพ์ข้อความ

Screenshot_2015-08-27-21-12-46

ตัวกรองแสงสีฟ้า ซึ่งตอนนี้กำลังนิยมเลยครับอย่างพวกฟิล์มกรองแสงสีฟ้า ที่เขาว่าจะเป็นอันตรายต่อลูกตาของเรา สำหรับ Zenpad 7.0 มีใส่มาให้เป็นฟังชั่นการกรองแสงเลย โดยจะเปลี่ยนโทนสีหน้าจอให้ออกเหลืองๆ แทน นัยว่าจะส่งผลให้สบายตามากขึ้นนั้นเองครับ

P1015235

หน้าการตั้งค่าจะแยกเป็นสองแถวเหมือนเครื่องแท็บเล็ตครับ ส่วนที่น่าสนใจในหน้าการตั้งค่าที่ดูจะเป็นพิเศษในเครื่อง Zenpad 7.0 ก็น่าจะเป็นเรื่องของการแสดงผลครับ นอกจากจะปรับตั้งขนาดฟ้อน หรือการเปิดโหมดแสงสีฟ้าได้แล้ว เรายังสามารถปรับตั้งโทนสีและความสดของหน้าจอ Zenpad 7.0 ได้ในเชิงลึกในการตั้งค่าส่วนนี้ครับ อยากได้สีสดประมาณไหน หน้าจอออกโทนสีอะไรก็ปรับตั้งได้เลยครับ

Screenshot_2015-08-27-21-18-28-horz

Zenmotion การสั่งงานด้วยการสัมผัสและสัญลักษณ์พิเศษ เช่นการเคาะหน้าจอสองครั้งเพื่อล็อกหน้าจอและปลดล็อกหน้าจอเป็นต้นครับ การเขียนตัวอักษรลงบนหน้าจอเพื่อเรียกใช้งานแอพพลิเคชั่นหรือการทำงานที่เราระบุเอาไว้ได้ หรือการเขย่าเครื่องเพื่อจับภาพหน้าจอ หรือการพลิกเครื่องคว่ำลงเพื่อปิดเสียงแจ้งเตือน เหล่านี้คือความสามารถที่เรามาเปิดใช้งานได้ในหน้าการตั้งค่า ZenMotion ครับ แต่บอกก่อนนะครับว่า เปิดใช้งานพวกนี้มากๆ เปลืองแบตเตอรี่ และการใช้งานจริงออกจะสร้างความรำคาญมากกว่าสำหรับผมครับ

Screenshot_2015-08-27-21-20-19

ตัว Zenpad 7.0 จะมีเคสฝาปิดที่เป็นเคสเสริมออกมาจำหน่าย เราสามารถตั้งค่าได้ว่าจะให้ใช้งานร่วมกับการปิดฝาเคสอย่างไร ให้ล็อกเครื่องและปลดล็อกเครื่องอัตโนมัติหรือไม่

Screenshot_2015-08-27-21-24-51

มาถึงตัวจัดการพลังงาน ตัวนี้แหละครับที่ผมพูดถึงตอนแรก เพราะค่าพื้นฐานของเครื่องตั้งค่ามาให้อยู่ในโหมดประหยัดพลังงานแบบสมาร์ตอยู่แล้ว เราสามารถปิดมันได้ครับเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพมันอีกสักหน่อย โดยแบตเตอรี่ขนาด 3,450 mAh ของมัน ก็สามารถอยู่กับเราได้ถึงค่ำนะครับ ชาร์จกันวันต่อวัน แต่ก็อึดมากพอจะกลับมาถึงบ้านได้

Screenshot_2015-08-27-21-29-13

การตั้งค่าที่น่าสนใจอีกตัวหนึ่งในเครื่อง Zenpad 7.0 ก็คือ “ตัวตั้งค่าแบบกำหนดเอง” ที่ให้เราเข้าไปเซ็ตวิธีการเซฟภาพหน้าจอและกำหนดแหล่งติดตั้งแอพพลิเคชั่นพื้นฐานว่า ต้องการให้ติดตั้งลงหน่วยความจำเครื่อง หรือถ้าเป็นไปได้ให้ติดตั้งลงหน่วยความจำภายนอกเป็นต้นครับ สามารถกำหนดตัว Toggle เปิดปิดฟังชั่นด่วนในหน้าแจ้งเตือนได้ในการตั้งค่าส่วนนี้ครับ

Screenshot_2015-08-27-21-34-44-horz

ASUS ยังได้ออกแบบการใช้งานของเครื่องให้เหมาะสมกับผู้ที่ใช้งานสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตแอนดรอยด์ได้ไม่คล่องดีนัก ด้วย “โหมดง่าย” โหมดการทำงานที่แปลงหน้าตา UI ให้ใช้งานง่ายๆ มีไอคอนใหญ่ๆ ไม่มีอย่างที่สำคัญๆ สำหรับการปรับเครื่อง Zenpad 7.0 ให้เหมาะกับเด็กหรืออาจจะผู้สูงอายุนั้นเองครับ

Screenshot_2015-08-27-21-36-36

หรือจะเป็นโหมดเด็ก ที่เป็นแอพพลิเคชั่นเฉพาะที่ทาง ASUS มอบให้ แอพพลิเคชั่นที่จะทำให้เครื่องของเราปลอดภัยต่อการใช้งานของเด็กเล็กๆ เพราะเราสามารถกำหนดขอบเขตการเล่นของเขาได้ กำหนดเวลาในการเล่น กำหนดแอพพลิเคชั่นที่เขาเล่น ให้เขาใช้เล่นเน็ตเบราว์เซอร์ที่ปลอดภัยด้วยการกลั่นกรองของตัวระบบ ซึ่งจะสามารถใส่รหัสของเราเอาไว้ได้เพื่อป้องกันไม่ให้เขาออกจากโหมดเด็กได้เมื่อเราไม่อยู่ “โหมดเด็ก” เป็นแอพพลิเคชั่นหนึ่งที่่น่าสนใจใน ASUS Zenpad และ Zenfone ซึ่งน่าจะมีทุกเครื่องครับ

Screenshot_2015-08-27-21-44-27-horz

แอพพลิเคชั่นที่ทาง ASUS เตรียมเอาไว้ให้กับผู้ใช้ในเครื่องก็มากมายครับ น่าจะครบกับการใช้งานพื้นฐานแล้วแทบทุกอย่าง

Screenshot_2015-08-27-21-40-42

โดยจะมีแอพพลิเคชั่นด้านการบริการที่สำคัญอีกสองตัว นั้นคือ MyASUS สำหรับการติดตามงานซ่อมและสอบถามข้อมูล

Screenshot_2015-08-27-21-41-01

อีกหนึ่งตัวคือ ASUS Support สำหรับการช่วยเหลือ คู่มือ และเครื่องมือจัดการเครื่องด้วยตัวเอง เช่นการเคลียแรม จัดการแอพเป็นต้นครับ

Screenshot_2015-08-27-21-41-36-horz

ผลทดสอบของ ASUS Zenpad 7.0

หน่วยจำในเครื่องมี 16GB ใช้ได้จริง 11GB ครับ

Screenshot_2015-08-27-21-51-09-tile

การจับสัญญาณ GPS ไม่เปิดเน็ตช่วยต้องใช้เวลาในการหาตำแหน่งสักพักครับ แต่ก็ถือว่ายังอยู่ในระดับใช้ได้ ถ้ามีเน็ตช่วยด้วยก็สามารถนำไปใช้นำทางได้เลย

P1015240

ทดสอบการเล่นไฟล์ภาพยนต์ Full HD ก็เล่นได้นะครับไม่กระตุก แต่มีสะดุดๆ อยู่บ้างในเวลาข้ามเวลาไปข้ามเวลามาครับ ส่วนด้านเสียงลำโพงตัวเครื่องดังดีครับ เสียงออกแหลม ไม่แตก ถือว่าใช้ได้

P1015244

หน้าจอขนาดเจ็ดนิ้วแบบกำลังถือ ดูจะเหมาะมากสำหรับการอ่าน กำลังพอดีมือพอดีตาเลยครับ

P1015238

หน้าตาแป้นพิมพ์ของเครื่อง Zenpad 7.0

Screenshot_2015-08-27-22-26-38-tile

กล้องถ่ายภาพ

กล้องหลัง 8ล้านพิกเซล กล้องหน้า 2ล้านพิกเซล ฟังชั่นกล้องเยอะมากกกกกกกก แต่คุณภาพของภาพถ่ายสุดแสนจะธรรมดาครับ ถ่ายกลางวันแสงเพียงพอก็ถือว่าถ่ายได้สนุกครับ แต่แสงน้อยในที่ร่มก็เริ่มออกอาการ หวังมากไม่ค่อยได้ครับสำหรับกล้องของ Zenpad 7.0

Screenshot_2015-08-27-22-05-55

ฟังชั่นและการตั้งค่าเยอะมาก

Screenshot_2015-08-27-22-06-01

ตัวอย่างภาพถ่าย

P_20150828_114803 P_20150828_114818 P_20150828_114840 P_20150828_114853 P_20150828_114908

ฟังชั่นการถ่ายภาพด้วยกล้องหน้า เซลฟี่มาเต็มขั้น ตาโต ผิวขาว หน้าใส คางแหลม จัดได้หมดครับ

Screenshot_2015-08-27-22-04-27

P_20150828_115033_BF

อุปกรณ์เสริม Zenpad 7.0 เหล่าเคสฝาหลังมหัศจรรย์

ไม้ตายหนึ่งของเครื่อง Zenpad 7.0 คืออุปกรณ์เสริมจากทาง ASUS ซึ่งจะเป็นเหล่าฝาหลังที่ออกแบบมาเพื่อสร้างความแตกต่างในการเลือกใช้ครับ เพราะมันจะมีฝาหลังทั้งแบบแฟชั้นหลากหลายสี แบบเป็นเหมือนกระเป๋สตางค์ของผู้หญิงที่ดูแล้วก็งามไม่ใช่เล่น

P8282061 P8282063 P8282064 P8282065 P8282067

แต่ยังมีทีเด็ดคือฝาหลังที่เป็นแบตเตอรี่เสริมในตัว เพียงเปลี่ยนฝาหลัง ก็เป็นการเพิ่มแบตเตอรี่ของตัวเครื่องได้แล้วครับ

DSC06883-610x406

ยังมีอีกหนึ่งตัวเด็ดนั้นคือเคสฝาปิดแบบเป็นลำโพง DTS 5.1 ซึ่งเจ้านี้ผมได้มารีวิวพร้อมๆ กับตัวเครื่อง Zenpad 7.0 ด้วยครับ

P8282071

ฝาหลังพร้อมลำโพงตัวนี้ออกแบบมาเพื่อใช้งานกับตัวเครื่อง Zenoad 7.0 โดยตรงเลยครับ มันจะเปลี่ยนใช้งานแทนฝาหลังเดิมๆ ของตัวเครื่อง และขั้วไฟฟ้าหลังตัวเครื่องก็จะส่งผ่านสัญญาณเสียงและเลี้ยงพลังงานไปให้แก่กันและกันโดยอัตโนมัติ เราไม่ต้องทำการจับคู่เชื่อมต่อใดๆ เลยครับ แค่สวมมันเข้าด้วยกันก็เท่านั้น

P8282069 P8282079

P8282074

ตัวฝาพับพร้อมลำโพงตัวนี้ จะมีแบตเตอรี่ของตัวมันเองอยู่เช่นกัน เมื่อเราทำการชาร์จพลังงานผ่านตัวเครื่องโทรศัพท์ ฝาพับลำโพงตัวนี้ก็จะชาร์จพลังงานไปด้วยในตัว แต่ในขณะชาร์จ จะไม่สามารถใช้งานลำโพงนี้ได้นะครับ เสียงที่ออกจะโดนสลับไปยังลำโพงตัวเครื่อง Zenpad 7.0 โดยอัตโนมัติ

P8282075

ส่วนคุณภาพเสียงของเจ้าเคสฝาพับตัวนี้ ก่อนอื่นเลย มันดังครับ เสียงดังกว่าลำโพงตัวเครื่องแท็บเล็ตมาก มีเนื้อเสียงมากกว่า แต่ก็ไม่ใช่ว่าเสียงมันจะเทพเหมือนลำโพงดีๆ มากสักเท่าไหร่นะครับ มันดีประมาณหนึ่ง ดูหนังได้ ฟังเพลงได้ แต่เปิดดังๆ เสียงมันก็ออกแหลมๆ ฟุ้งๆ หน่อย เปิดพอประมาณจะได้เสียงกำลังดีครับ

P8282078

มันก็ดูเท่ดีสำหรับเคสแนวคิดแปลกๆ แบบนี้ครับ

สรุปท้ายรีวิว

เกรด C พอถูไถ !

ASUS Zenpad 7.0 เป็นเครื่องคุ้มค่าในด้านของการใช้งานครับ โทรออกได้ ตัวเครื่องสวย สเปคพอใช้ ในราคาไม่แพงเลย แต่ประสิทธิภาพดูจะแปลกใจผมไปสักหน่อยสำหรับหน่วยประมวลผลตัวใหม่ของ Intel กับแรมขนาด 2GB มันน่าจะลื่นไหลกว่านี้ในหน้าโฮม

แต่ด้วยราคาที่ตั้งมาไม่แพง ก็พอไหวครับ น่าสนใจสำหรับใครมองหาเครื่องแท็บเล็ตแอนดรอยด์ ที่ดูจะคุ้มค่าครบครันในราคาประมาณแค่ห้าพัน ไม่ต้องการสเปคอลังการมากแต่อยากประหยัดตังค์ ตอนนี้ตัวนี้น่าพิจารณา

from:http://www.appdisqus.com/devices/review-asus-zenpad-7-0-z370cg

สรุปรายละเอียด ASUS Zenpad แท็บเล็ตแอนดรอยด์สเปคโหด โคตรถูก มีตัวไหนบ้างที่เข้าไทย ราคาเท่าไหร่ และสเปคอะไรบ้าง

รายละเอียด ASUS Zenpad 7.0, 8.0 และ Zenpad C แท็บเล็ตแอนดรอยด์สเปคโหด โคตรถูก มีตัวไหนบ้างที่เข้าไทย ราคาเท่าไหร่ และสเปคอะไรบ้าง

ASUS ไทยวันนี้ ได้มีการปล่อยแท็บเล็ตออกมาจำหน่ายในบ้านเราอีกหนึ่งรุ่นครับ แต่มีแยกเป็นสามโมเดลนะครับ Asus Zenpad 8.0, Zenpad 7.0 และ Zenpad C เป็นเครื่องหน้าจอ 8นิ้ว และ 7นิ้ว ที่เริ่มหายๆ กันไปจากบ้านเรา มีการกำหนดสเปคและราคาจำหน่ายในสามระดับตลาด หนึ่งรุ่นอยู่ในตลาดราคาประหยัดครับ อีกหนึ่งรุ่นเริ่มขยับสู่แท็บเล็ตไฮโซ และอีกหนึ่งตัวไฮโซสมบูรณ์แบบ อย่างไรก็ตามราคาก็ไม่แพงมากทั้งสามรุ่นครับ ผมว่าราคาของทาง Asus ทำลายตลาดเลยละครับ ส่วนเรื่องของสเปคทั้งสามรุ่น แตกต่างกันมหาศาลเลยทีเดียว
DSC06898

หน่วยประมวลผลของเครื่อง Zenpad ยังคงใช้ของพาร์ทเนอร์ที่ไว้ใจกันมานานอย่าง Intel โดยเจ้า Asus Zenfone จะใช้หน่วยประมวผลเป็น Intel  Atom Quad-core X3 ตัวแรกของไทยเลยครับ ส่วนรุ่นของรหัว แยกรุ่นจำง่ายๆ ก็คือ Zenpad 8.0, 7.0 และ Zenpad C ที่เป็นรุ่นเล็กที่สุดครับ หรือจะจำยากๆ ก็รหัสรุ่นท็อป Z580CA, ตัวกลาง Z370CG และรุ่นเล็ก Z170CG ตามลำดับครับ นอกจากสามรุ่นนี้ไม่มีเข้าไทยครับ หรืออาจจะเข้า แต่ทาง Asus จะปล่อยสามรุ่นนี้ก่อนแน่นอน โดยในรุ่น 7.0 และ C จะจำหน่ายก่อนนะครับ ประมาณเดือนหน้า ส่วนรุ่นท็อป 8.0 หรือ Z580CA จะตามมาหลังจากนั้นอีกสักพักใหญ่ๆ ครับ

DSC06911 DSC06907 DSC06906

สเปคเครื่องทั้งสามรุ่นและราคาจำหน่าย

สเปค ZenPad 8.0 Z580CA ราคา 10,990 บาท

DSC06848

OS The latest Android 5.0 Lollipop
Display 8″ LED Backlight IPS panel; 2048*1536 QXGA 4:310 finger multi-touch supportTP Full-Lamination  bonding technology
CPU Intel Moorefield Quad-Core Atom™ Z3580 2.3GHz, 64bit
Memory 4GB
Storage 32/64GB(5GB Life Time ASUS Webstorage Space ; with an additional 11GB for the first year)
Graphic IMG PowerVR Series 6 – G6430
Wireless Data Network WLAN 802.11 b/g/n, Bluetooth V4.0 + BLE, Support Miracast
Camera 5 MP Front8 MP Rear
Audio Build-in high quality speaker x 2 Front speaker with SonicMaster technology
Interface 1 x Audio jack: Head phone/Mic 1 x Card reader (Micro-SD),  support Upto 128G SDXC 1 x USB Type-C
Sensor G-Sensor / E-compass / GPS / Ambient light sensor (for Pixelworks Iris2)/ Hall Sensor
Battery 9 hours; 15.2Wh,4000mAh(non-removable polymer battery)
Navigation E-compass & GPS
Color Black / White
Dimensions & Weight 203.2mm (L) x 134.5mm (W) x 7.18~6.68mm (H), 281g
 

สเปค ZenPad 7.0 Z370CG ราคา 5,990 บาท

DSC06849

OS The latest Android 5.0 Lollipop
Display 7″ LED Backlight IPS panel, 1280 x 800 (WXGA); 16:1010 finger multi-touch supportTP Full-Lamination  bonding technology
CPU Intel A 3G-R Z5210RK Quad-Core processor, 1.2 GHz
Memory 2GB
Storage 16GB(5GB Life Time ASUS Webstorage Space ; with an additional 11GB for the first year)
Graphic Mali-450
Wireless Data Network WLAN 802.11 b/g/n, Bluetooth V4.0 + BLE, Support Miracast
Camera 2 MP Front8 MP Rear
Audio Single Front Stereo Speakers  with SonicMaster technology
Interface 1 × Micro USB    1 × 2-in-1 Audio Jack (Headphone / Mic-in) 1 × Digital Microphone   1 × Micro SD Card Reader, up to 64GB (SDXC) Single SIM
Sensor G-Sensor / E-compass / GPS / Light / Proximity / Hall Sensor
Battery 9 hours ; 13 Wh Li-polymer Battery
Navigation E-compass & GPS
Color Black / White / Metallic
Dimensions & Weight 189mm (L) x 110.9mm (W) x 8.7mm (H), 272g
 

สเปค ZenPad C Z170CG ราคา 4,990 บาท

DSC06850

OS The latest Android 5.0 Lollipop
Display 7″ LED Backlight IPS panel, 1024 x 600 (WSVGA) 16:910 finger multi-touch supportTP Full-Lamination  bonding technology
CPU Intel SoFIA 3G-R Z5210RK Quad-Core processor, 1.2 GHz
Memory 1GB
Storage 16GB(5GB Life Time ASUS Webstorage Space ; with an additional 11GB for the first year)
Graphic Mali-450
Wireless Data Network WLAN 802.11 b/g/n, Bluetooth V4.0 + BLE, Support Miracast
Camera 0.3 MP Front 2 MP Rear
Audio Single Front Stereo Speakers  with SonicMaster technology
Interface 1 × Micro USB    1 × 2-in-1 Audio Jack (Headphone / Mic-in) 1 × Digital Microphone   1 × Micro SD Card Reader, up to 64GB (SDXC) Dual SIM
Sensor G-Sensor / E-compass / GPS / Light / Proximity / Hall Sensor
Battery 9 hours; 13 Wh Li-polymer Battery
Navigation E-compass & GPS
Color Black / White / Metallic
Dimensions & Weight 189mm (L) x 108mm (W) x 8.4mm (H), 265g

DSC06899
การออกแบบของ Asus Zenpad จะเน้นการใช้งานแนวตั้งนะครับ สามารถโทรออกได้ แม้เครื่องด้านหลังจะออกแบบคล้ายให้ใช้ในแนวนอนตัวเครื่องดูสวยดีโดยเฉพาะด้านหลังนี้แหละครับ

อุปกรณ์เสริมสวยๆ ที่จะทำให้ Asus Zenpad กลายเป็นเครื่องเล่นเพลง หรือเคสแบตเสริมที่จะเพิ่มพลังงานให่ใช้งาน มีเคสให้ใช้งานเยอะจริงๆ ครับ

อุปกรณ์เสริมเจ๋งๆ มีมากมายครับ ตัวเคสแฟชั่นแบบงามๆ ตัวเคสเสียงเทพที่มาพร้อมกับลำโพงหกตัวพร้อมวูฟเฟอร์ในระบบเสียง 5.1 dts ใช้งานได้ยาวนาน 6ชั่วโมง เป็นอุปกรณ์เสริมที่น่าสนใจที่สุดครับ

DSC06889

รวมถึงเคสที่มาพร้อมกับแบตเตอรี่เสริม ยืดอายุการใช้งานได้ในแต่ละวันก็มีนะ ฝังลงไปในเคสเลย

DSC06883

มีแบบกระเป๋าสตางค์คุณสุภาพสตรีด้วย

DSC06881 DSC06903
ซึ่งอุปกรณ์เสริมทั้งหมด ทาง Asus แจ้งว่าใช้งานร่วมกันไม่ได้นะครับ อุปกรณ์เสริมต่างๆ ทั้งหมด มีเพื่อรุ่น 7.0 เท่านั้น – –

ทาง Asus ได้ใส่เทคโนโลยีมากมายลงในตัว Zenpad โดยเฉพาะตัวท็อปๆ ทั้งเรื่องของเทคโนโลยีถ่ายภาพที่มาพร้อมกับ PixelMaster แบบเดียวกันกับที่มีอยู่ในสมาร์ทโฟนของพวกเขาครับ ส่วนหน้าจอแบบ Visual Master ที่มีชิพการประมวลผลภาพ Tru2Life ปรับความชัดเจนให้สูงขึ้น 200% ตามทาง Asus ได้กล่าวเอาไว้

ซึ่งมองดูด้วยตา ก็หน้าจอสวยดีครับ แสงสดใสดี แต่สังเกตว่างานนี้ ทุกเทคโนโลยีทาง Asus ตั้งชื่อไว้หมดเลย ^^

DSC06911

ุถ้าจะให้แนะนำกันตรงๆ ก็เป็นตัว Zenpad 7.0 ครับที่ดูจะน่าใช้ กำลังเหมาะ ราคาประหยัด ซึ่งเจ้า Zenpad C คงจะเหมาะกับกลุ่มคนที่ต้องการเครื่องแท็บเล็ตแบบสองซิมเท่านั้นจริงๆ ด้วยราคาและความสามารถเพิ่มพันเดียวเอาตัว 7.0 ดีกว่าเยอะครับ

ตัวที่เข้ามาจำหน่ายก่อนก็เป็นตัว Zenpad 7.0 และ Zenfone C ตามที่บอกนะครับ ต้นเดือนหน้าก็น่าจะเริ่มมีของกันแล้ว ส่วนตัว 8.0 จะตามมาทีหลัง ส่วนรุ่นรหัสอื่นๆ ไม่ต้องไปสนใจครับ วางจำหน่ายต่างที่ต่างท้องถิ่นกันครับ มีเข้าไทยสามรุ่นนี้ก่อนครับ

from:http://www.appdisqus.com/2015/08/11/asus-zenpad-7-8-c-pre-sale.html