ด้าน Drew Thompson นักวิจัยอาวุโสจาก Lee Kuan Yew School of Public Policy จากมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์มองเรื่องนี้ว่า นี่อาจเป้นไปได้ว่า กองทัพปลดปล่อยประชาชนของจีนกำลังทำลาย Xi Jinping ที่พยายามพัฒนาความสัมพันธ์กับสหรัฐอยู่ก็ได้
การเข้าถึงโลกเสมือน (Virtual Realization) คือ การทำให้โลกเสมือนกลายเป็นความจริงด้วยการฉายภาพดิจิทัลให้มองเห็น และรับรู้ในโลกจริง โดยโซลูชันที่เกี่ยวข้อง คือ โซลูชัน Digital Human, Text Driven Digital Human Avatar based on Real-Time Capturing
การใช้อินเทอร์เน็ตมาผสานโลกความจริง และวัตถุ (Augmented Internet) คือ การเชื่อมต่อผู้คนเข้ากับการปฏิสัมพันธ์แบบ Real-Time และอาจให้มีการรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสที่ เสมือนจริงผ่าน AR/VR
โดยโซลูชันที่เกี่ยวข้อง คือ โซลูชัน Interactive Media & Communication อาทิ Game Multimedia Engine (GME) Tencent Rea-Time Communication (TRTC) Cloud Streaming Services (CSS) เป็นต้น
70% คือ On the job training เช่น การให้มอบหมายให้ไปทำงานในตำแหน่งที่อยากพัฒนาทักษะ โดยอาจให้ชิ้นงานแบบมีจำกัดระยะเวลา เพื่อได้ลองทำงานในตำแหน่งนั้น เพื่อเตรียมความพร้อมหรือดูความเหมาะสมกับตำแหน่งงานนั้น
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน คือการสูญสิ้นอำนาจของ Jack Ma
นักวิเคราะห์จาก Nikkei พูดถึงความรุ่งเรืองของจีนนั้นถึงกาลอวสานแล้ว โดยยกตัวอย่างจาก Jack Ma เขาบอกช่วงต้นปีที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่รัฐเข้าออกบริษัทอาลีบาบาที่ตั้งอยู่ในมณฑลเจ้อเจียงกันบ่อยครั้ง มีทั้ง Liu Jie เลขาพรรคที่อยู่ในเมืองหังโจว และ Yi Lianhong เลขาคนใหม่ของพรรคที่อยู่ในเจ้อเจียง
แหล่งข่าวที่คุ้นเคยกับการทำธุรกิจในเจ้อเจียงระบุว่า หากมองอย่างผิวเผินอาจคิดว่าการเยือนบริษัทยักษ์ใหญ่ของเจ้าหน้าที่รัฐจีนน่าจะมีการเกี๊ยะเซียะ หรือจับมือร่วมกันกันทำงานแล้ว แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่ การเยือนของเจ้าหน้าที่รัฐเกิดขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกับที่ Jack Ma ต้องลงจากอำนาจในการควบคุม Ant Group
Ant Group หรือ Ant Financial บริษัท FinTech ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีแพลตฟอร์มการทำธุรกรรมทางการเงินคือ Alipay มีผู้ใช้งานอยู่ราว 1.3 พันล้านคน เชื่อมต่อกับร้านค้าออนไลน์กว่า 100 ล้านบัญชี ไม่ใช่แค่ชาวจีนเท่านั้นที่ใช้ Alipay แต่ยังเปิดให้บริการสำหรับชาวต่างชาติที่เข้าไปในจีนด้วย Ant Group ก่อตั้งอย่างเป็นทางการโดย Jack Ma ในปี 2004 แต่เขากลับต้องสูญเสียอำนาจในการบริหารไป
การปรับโครงสร้างของบริษัททำให้ Jack Ma ที่เคยมีสิทธิในการออกเสียง มีอำนาจในการตัดสินใจมากกว่า 50% เหลือสิทธิในการตัดสินใจเพียง 6% เศษๆ Ma อาศัยอยู่ในญี่ปุ่นตั้งแต่ก่อนมีการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์จีนที่มีจัดขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม ปีที่ผ่านมา
การเข้ากุมอำนาจ Ant Group ของรัฐบาลจีนแทนเจ้าของเดิม ทำให้รัฐบาลสามารถยึดข้อมูลผู้ใช้งาน Alipay ได้มากกว่า 1 ล้านแอคเคาท์ Ant Group กลายเป็นบริษัทที่อยู่ภายใต้พรรคคอมนิวนิสต์จีนโดยตรงและรัฐบาลจีนยังมีสิทธิออกเสียงโหวตอีกด้วย ไม่เพียงแค่นี้ Nikkei ยังวิเคราะห์การพาดหัวข่าวของสำนักข่าว Xinhua ในแอป WeChat เมื่อปี 2020 ที่พูดถึงภาพจากศิลปินระดับโลกอย่าง Kaii Higahiyan เมื่อปี 2020 อีกด้วย เป็นภาพม้าสีขาวที่ปรากฎตัวจางๆ ท่ามกลางก้อนเมฆบนท้องฟ้า
ภาพนั้นสะท้อนให้เห็นถึงสถานการณ์ที่ Jack Ma กำลังเป็นอยู่ในขณะนั้น โดยนัยของภาพมาจากชื่อของ Jack Ma ที่เดิมใช้ชื่อจีนว่า Ma Yun ที่หมายความว่า ม้า และ ก้อนเมฆ คอลัมน์ของ Xinhua คือคำเตือนถึง Jack Ma ว่าม้ากำลังจะหายไปท่ามกลางก้อนเมฆ เพียงแค่ลมพัดก็หายไปแล้ว
คอลัมน์นี้เผยแพร่หลังจาก Ma ถูกหน่วยงานกำกับและดูแลของจีนเรียกตัวเข้าพบ ซึ่งก็หลังจากที่เขาตั้งคำถามต่อรัฐบาลจีนว่าไม่สนับสนุนให้ก่อเกิดนวัตกรรมนั่นเอง หลังจากคอลัมน์นี้ปรากฎเพียงหนึ่งวัน Ant Group ก็ประกาศเลื่อน IPO ด้วย
Jack Ma กับความเชื่อมโยงบิดาแห่งโรงงานโลก Jiang Zemin
ไม่ใช่แค่ภาพพาดหัวข่าวของ Xinhua ที่ถูกนำมาวิเคราะห์หลังเกิดเหตุการณ์ที่จะเริ่มมีการหายตัวไปเงียบๆ ของ Jack Ma เท่านั้น แต่ยังวิเคราะห์ไปถึงบิดาแห่งโรงงานโลก Jiang Zemin ที่อาจมีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันอย่างมาก เนื่องจาก ช่วงที่ Ma ก่อตั้งอาลีบาบาในมณฑลเจ้อเจียงเมื่อปี 1999 นั้นก็เป็นปีเดียวกับที่เจียง เจ๋อหมิน ผู้นำสูงสุดในช่วงนั้นประกาศนโยบายใหม่ ดันให้ผู้ประกอบการหรือนักธุรกิจเข้ามาร่วมเป็นส่วนหนึ่งของพรรคคอมมิวนิสต์จีนด้วย ก่อนหน้านี้มีแต่คนงานและชาวนาเท่านั้นที่ร่วมได้
จนกระทั่งเริ่มดีขึ้นในช่วงต้นปี 1992 ภายใต้การนำของเติ้ง เสี่ยวผิง ที่เริ่มมีการเยี่ยมเยือนเขตเศรษฐกิจในทางตอนใต้ของจีนและเริ่มปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ จากนั้น จีนก็เริ่มเข้าสู่องค์การการค้าโลกช่วงปี 2001 สมัยเจียง เจ๋อหมินเป็นต้นมา แม้เราจะเห็น Jack Ma ปรากฎตัวในญี่ปุ่นบ้าง ในกรุงเทพฯ บ้าง แต่ยังไม่มีข้อมูลว่า Jack Ma จะกลับไปใช้ชีวิตในประเทศจีนต่อ
จุดเริ่มต้นของการเดินหน้าสร้าง Super PC มาจากการที่ Dapper มีนักขายที่เก่งอยู่หลายคน และพนักงานขายทุกคนของแบรนด์สามารถให้บริการที่ดีให้กับลูกค้าได้อยู่แล้วตามมาตรฐาน แต่หากต้องการให้แบรนด์มีการเติบโตตามเป้าหมายที่วางไว้ จำเป็นต้องสร้าง Super PC ให้มีมากขึ้น โดยสร้างมาตรฐานใหม่ของการบริการที่เหนือระดับไปอีกขั้น เพื่อมอบ Experience ที่ดีให้กับลูกค้า และเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับภาพรวมธุรกิจ
โรงงานผลิตเครื่องหนังของ Dapper ในประเทศไทย
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกยกระดับการบริหาร
ด้วยภาพรวมตลาดเสื้อผ้าผู้ชายแบบ Formal มีขนาดตลาดเล็กลงต่อเนื่อง เช่น จากมีกว่า 20 แบรนด์ เหลือเพียงหลัก 10 แบรนด์ ทำให้บริษัทเลือกใช้เทคโนโลยีมายกระดับการบริหารจัดการ Sell-Through ให้มีรูปแบบ Real Time ที่เน้นความเร็วมากขึ้น รวมถึงการทำระบบสมาชิกแบบ Cardless เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับลูกค้า
ยิ่ง Dapper มีความหลากหลายของสินค้า และมีการบริหารสต็อกแบบ Real Time ที่หมุนเวียนสินค้าใหม่อย่างรวดเร็ว ช่วยสร้างความแตกต่างให้กับแบรนด์เสื้อผ้าผู้ชายแบรนด์อื่นในไทยอย่างชัดเจน และก้าวไปสู่เป้าหมายแบรนด์ Lifestyle ที่ครองใจผู้ชายทุก Gen ได้อย่างมั่นคง